ปณิธานจากนายกอง ถึงไอ้เนรคุณแผ่นดิน มึงอย่าได้ใช้แผ่นดินร่วมกับกู
ทาสที่ยังปล่อยไม่ไป ไปไหนไม่เป็น ไม่เห็นหนทางเสรีชน
... ปล.ถ้ายึดถือตามธรรมเนียมโบราณกาล ทาสคู่ใจ หรือ นายทหารราชวัลลภคู่บารมี นี่ต้องถือกฎตายตามนาย ไปด้วย คือ นายตายก็ต้องฆ่าตัวตายตามกันไปรับใช้ใกล้ชิด จิตวิญาณลอยตามละอองฝุ่นใต้ตีนไปติดๆ
... อ้ายนายกองเอ็งจงตระเตรียมตนไว้ให้พร้อมมูลเถิดเกือบจวนเพลาแล้ว
ตำแหน่ง นายกองสยาม นี่ คงเทียบได้ตำแหน่ง นายพัน บังคับกองทหารระดับ กองพันรบ คุมไพร่เลวประมาณ 600-1,000 นาย
[4 กองร้อย (Company) เป็น 1 กองพัน (1 กองพัน = 704 นาย)]
เปลี่ยนชื่อจาก สยาม เป็น ไทย ในสมัยรัชกาลที่8 ปี พ.ศ.2482 หรือ ค.ศ.1939 หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง
การยกเลิกระบบทาส
ฉันนั้น ข้อเขียนนี่ก็ ต้องอยู่ในยุคสมบูรณาญาสิทธิราช ช่วงที่ยังเป็นประเทศสยาม มิใช่ปัจจุบัน
ปรัชญาความเชื่อมั่นดัง ข้อความข้างต้น จึงเป็นเรื่องปกติ ของยุคสมัยนั้น
ทว่าหากหมายถึงในยุคสมัยปัจจุบัน นับแต่การเปลี่ยงแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร์ ล้มล้างระบอบกษัตริย์
ถึงปี พศ.๒๕๕๕ นี้ ก็นับได้ว่า ขาดความรู้และล้าหลังตกยุคสมัย เป็นจินตนาการความบ้าคลั่ง ลัทธินิยมเจ้าเฝ้า
หมอบคลาน ยอบกายเพื่อให้ได้สัมผัสกับละอองฝุ่น อันปลิวมาแต่ฝ่าตีน ดุจดั่งเดียรัจฉานอันมีท่อนกายขนานกับ
พื้นผิวโลก
ซึ่งนับได้ว่า พวกมึงมันบ้าฉิบหาย มีความคิดอ่าน
อันเชื่อได้ว่าเป็นภัยต่อระบอบประชาธิปไตยไทยเป็นอย่างสูง
สมควรที่รัฐไทย จักได้เตรียมการรับมือกับผู้ที่มีความคิดเป็น
ภัยอันตรายร้ายแรงกับรัฐธรรมนูญของประเทศนี้
เชิงอรรถ การจัดกองทหารสมัยใหม่
1 หมู่ มี 11 นาย (ต่างประเทศบางแห่งอาจจัด 7-8 นาย)
4 หมู่ (Section) เป็น 1 หมวด (1 หมวด = 44 นาย) (บางแห่งอาจจัด 2-4 หมู่)
4 หมวด (Platoon) เป็น 1 กองร้อย (1 กองร้อย = 176 นาย)
4 กองร้อย (Company) เป็น 1 กองพัน (1 กองพัน = 704 นาย)
4 กองพัน (Battalion) เป็น 1 กรม (1 กรม = 2,186 นาย)
4 กรม (Regiment) เป็น 1 กองพล (1 กองพล = 11,264 นาย)
4 กองพล (Division) เป็น 1 กองทัพภาค (1 กองทัพภาค = 45,056 นาย) (Field army)
นำภาำพ'ปณิธานจากนายกอง'มาจากเฟซบุค อินเตอร์เนต
.
ทาสที่ยังปล่อยไม่ไป ไปไหนไม่เป็น ไม่เห็นหนทางเสรีชน
... ปล.ถ้ายึดถือตามธรรมเนียมโบราณกาล ทาสคู่ใจ หรือ นายทหารราชวัลลภคู่บารมี นี่ต้องถือกฎตายตามนาย ไปด้วย คือ นายตายก็ต้องฆ่าตัวตายตามกันไปรับใช้ใกล้ชิด จิตวิญาณลอยตามละอองฝุ่นใต้ตีนไปติดๆ
... อ้ายนายกองเอ็งจงตระเตรียมตนไว้ให้พร้อมมูลเถิดเกือบจวนเพลาแล้ว
ตำแหน่ง นายกองสยาม นี่ คงเทียบได้ตำแหน่ง นายพัน บังคับกองทหารระดับ กองพันรบ คุมไพร่เลวประมาณ 600-1,000 นาย
[4 กองร้อย (Company) เป็น 1 กองพัน (1 กองพัน = 704 นาย)]
เปลี่ยนชื่อจาก สยาม เป็น ไทย ในสมัยรัชกาลที่8 ปี พ.ศ.2482 หรือ ค.ศ.1939 หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง
การยกเลิกระบบทาส
ฉันนั้น ข้อเขียนนี่ก็ ต้องอยู่ในยุคสมบูรณาญาสิทธิราช ช่วงที่ยังเป็นประเทศสยาม มิใช่ปัจจุบัน
ปรัชญาความเชื่อมั่นดัง ข้อความข้างต้น จึงเป็นเรื่องปกติ ของยุคสมัยนั้น
ทว่าหากหมายถึงในยุคสมัยปัจจุบัน นับแต่การเปลี่ยงแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร์ ล้มล้างระบอบกษัตริย์
ถึงปี พศ.๒๕๕๕ นี้ ก็นับได้ว่า ขาดความรู้และล้าหลังตกยุคสมัย เป็นจินตนาการความบ้าคลั่ง ลัทธินิยมเจ้าเฝ้า
หมอบคลาน ยอบกายเพื่อให้ได้สัมผัสกับละอองฝุ่น อันปลิวมาแต่ฝ่าตีน ดุจดั่งเดียรัจฉานอันมีท่อนกายขนานกับ
พื้นผิวโลก
ซึ่งนับได้ว่า พวกมึงมันบ้าฉิบหาย มีความคิดอ่าน
อันเชื่อได้ว่าเป็นภัยต่อระบอบประชาธิปไตยไทยเป็นอย่างสูง
สมควรที่รัฐไทย จักได้เตรียมการรับมือกับผู้ที่มีความคิดเป็น
ภัยอันตรายร้ายแรงกับรัฐธรรมนูญของประเทศนี้
เชิงอรรถ การจัดกองทหารสมัยใหม่
1 หมู่ มี 11 นาย (ต่างประเทศบางแห่งอาจจัด 7-8 นาย)
4 หมู่ (Section) เป็น 1 หมวด (1 หมวด = 44 นาย) (บางแห่งอาจจัด 2-4 หมู่)
4 หมวด (Platoon) เป็น 1 กองร้อย (1 กองร้อย = 176 นาย)
4 กองร้อย (Company) เป็น 1 กองพัน (1 กองพัน = 704 นาย)
4 กองพัน (Battalion) เป็น 1 กรม (1 กรม = 2,186 นาย)
4 กรม (Regiment) เป็น 1 กองพล (1 กองพล = 11,264 นาย)
4 กองพล (Division) เป็น 1 กองทัพภาค (1 กองทัพภาค = 45,056 นาย) (Field army)
นำภาำพ'ปณิธานจากนายกอง'มาจากเฟซบุค อินเตอร์เนต
.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น