จำนวนเข้าชม
" ความรวย ทำให้เสื่อม "
เปิดกระทู้ด้วยประเด็นที่ทราบกันแล้ว ว่าใครเป็นผู้แต่ง คำกลอน บทนี้ แต่ขออนุญาต นำเสนอ
ที่มาว่าด้วยประโยค "เด็ดดวงสะเทือนหัวใจ" ใครบางคน แลหลายๆคน อีกสักครั้งขอรับ
พินัยกรรม “ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์”
ข้อ2) "ไม่ขอรับเกียรติยศใดๆ ทั้งสิ้น" เทียบกับของท่านสมัคร "ขอกัดฟันลาตาย ไม่....."
(สำหรับคำว่า กลอนบทสุดท้ายของท่านสมัคร = ช่วงสุดท้ายชีวิตดังคำกลอน ที่แปลงจากกลอนคุณจักรภพ)
ผมเห็นว่า feeling ของครอบครัวทั้งสองท่าน ไม่แตกต่างกันนักจากตัวอักษรที่นำออกเผยแพร่กันทั่วไป
ส่วนจะเป็นอารมณ์โกรธ แค้น เกลียด ชิงชัง น้อยใจ จำยอม ก็สุดแท้แต่.. ผมไม่ขอก้าวล่วงวิจารณ์ครับ
(สำหรับคำว่า กลอนบทสุดท้ายของท่านสมัคร = ช่วงสุดท้ายชีวิตดังคำกลอน ที่แปลงจากกลอนคุณจักรภพ)
ผมเห็นว่า feeling ของครอบครัวทั้งสองท่าน ไม่แตกต่างกันนักจากตัวอักษรที่นำออกเผยแพร่กันทั่วไป
ส่วนจะเป็นอารมณ์โกรธ แค้น เกลียด ชิงชัง น้อยใจ จำยอม ก็สุดแท้แต่.. ผมไม่ขอก้าวล่วงวิจารณ์ครับ
กราบถวายบังคมลาตาย
ตีพิมพ์ลงในหนังสือวชิราวุธานุสรณ์
เหตุการณ์ตอนปลายรัชกาล วันที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๖๘ พระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้ากฤษดา
ภินิหารกรมหมื่นนเรศวรฤทธิ์ สิ้นพระชนม์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จไปพระราชทาน
น้ำสรงพระศพ ขณะนั้นพระเจ้าอยู่หัว ร.๖ ประทับอยู่ ณ พระที่นั่งอุดรฯซึ่งมีเฉลียงทั้งบนและล่าง เชื่อมต่อกับพระ
ที่นั่งอัมพรสถาน มีอัฒจันทร์(บันได)หินอ่อน ทอดลงไปที่ถนนสำหรับรถยนต์พระที่นั่งเข้าเทียบ หากมีพระราชประ
สงค์จะเสด็จขึ้นลง จากตรงนั้นก็ทรงทำได้แต่ปกติแล้วรถจะเทียบหน้าพระที่นั่งอัมพรสถาน บรรดาราชองครักษ์และ
มหาดเล็กตามเสด็จ ก็จะไปรอรับเสด็จที่พระที่นั่งอัมพรสถาน
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์
วันนั้นพระเจ้าอยู่หัวเสด็จจากพระที่นั่งอุดรฯ ตรงไปที่พระที่นั่งอัมพรสถานเพื่อจะประทับรถพระที่นั่งจากตรง
นั้น ระหว่างเสด็จมาตามลำพังพระองค์เดียว เพราะผู้คนไปรอที่อัฒจันทร์ด้านพระที่นั่งอัมพรกันหมด พอเลี้ยวจาก
อัฒจันทร์ชั้นบนจะลงมาที่ชั้นล่าง ก็ทอดพระเนตรเห็น นายพันโทจมื่นฤทธิ์รณจักร(กรับ โฆษะโยธิน) ผู้บังคับ
การทหารรักษาวัง และราชองครักษ์เวร มายืนเฝ้าถวายการเคารพอยู่ริมถนนเชิงอัฒจันทร์
พระเจ้าอยู่หัวเสด็จผ่านไป ทรงรับความเคารพ ด้วยความแปลกพระทัยที่องครักษ์เวรมายืนเฝ้าอยู่ตรงนี้ตาม
ลำพังแทนที่จะไปรอเฝ้าที่หน้าพระที่นั่งอัมพรอย่างที่ควรทำ แต่ก็ทรงนึกว่าหรือราชองครักษ์จะรอเฝ้าเพราะมีเรื่อง
กราบบังคมทูลเป็นส่วนตัว แต่ท่าทีเขาก็ไม่เห็นจะถวายหนังสือ หรือมีเรื่องกราบบังคมทูล และที่แปลกพระทัยอีก
อย่างคือ แทนที่จะแต่งเต็มยศขาวตามหมายกำหนดการ จมื่นฤทธิ์ฯกลับแต่งเต็มยศใหญ่จะทรงทักว่าแต่งผิดก็เกรง
ว่า จมื่นฤทธิ์ฯ จะตกใจ จึงเสด็จผ่านไปเฉยๆ
จนกระทั่งเสด็จกลับจากงานพระศพ กลับมาที่พระที่นั่งอุดร ทรงลืมเรื่องของจมื่นฤทธิ์ฯไปแล้วทอดพระเนตร
เห็น พานดอกไม้ธูปเทียนกราบถวายบังคมทูลลาตาย วางอยู่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทอดพระเนตรเห็นดังนั้นก็ให้ฉงนในพระ ราชหฤทัยไม่ใช่น้อย จึงโปรดฯให้มหาดเล็กเวรเชิญพระราชกระแสไป
สอบถาม เพื่อให้แน่แก่พระทัยที่บ้านจมื่นฤทธิ์รณจักร มหาดเล็กก็กลับมาถวายบังคมทูลพระกรุณาว่า
"จมื่นฤทธิ์รณจักรถึง แก่กรรมแล้วเมื่อเช้านี้และในตอนเย็นก็ได้รับพระราชทาน น้ำหลวงอาบศพ
นั้น ระหว่างเสด็จมาตามลำพังพระองค์เดียว เพราะผู้คนไปรอที่อัฒจันทร์ด้านพระที่นั่งอัมพรกันหมด พอเลี้ยวจาก
อัฒจันทร์ชั้นบนจะลงมาที่ชั้นล่าง ก็ทอดพระเนตรเห็น นายพันโทจมื่นฤทธิ์รณจักร(กรับ โฆษะโยธิน) ผู้บังคับ
การทหารรักษาวัง และราชองครักษ์เวร มายืนเฝ้าถวายการเคารพอยู่ริมถนนเชิงอัฒจันทร์
พระเจ้าอยู่หัวเสด็จผ่านไป ทรงรับความเคารพ ด้วยความแปลกพระทัยที่องครักษ์เวรมายืนเฝ้าอยู่ตรงนี้ตาม
ลำพังแทนที่จะไปรอเฝ้าที่หน้าพระที่นั่งอัมพรอย่างที่ควรทำ แต่ก็ทรงนึกว่าหรือราชองครักษ์จะรอเฝ้าเพราะมีเรื่อง
กราบบังคมทูลเป็นส่วนตัว แต่ท่าทีเขาก็ไม่เห็นจะถวายหนังสือ หรือมีเรื่องกราบบังคมทูล และที่แปลกพระทัยอีก
อย่างคือ แทนที่จะแต่งเต็มยศขาวตามหมายกำหนดการ จมื่นฤทธิ์ฯกลับแต่งเต็มยศใหญ่จะทรงทักว่าแต่งผิดก็เกรง
ว่า จมื่นฤทธิ์ฯ จะตกใจ จึงเสด็จผ่านไปเฉยๆ
จนกระทั่งเสด็จกลับจากงานพระศพ กลับมาที่พระที่นั่งอุดร ทรงลืมเรื่องของจมื่นฤทธิ์ฯไปแล้วทอดพระเนตร
เห็น พานดอกไม้ธูปเทียนกราบถวายบังคมทูลลาตาย วางอยู่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทอดพระเนตรเห็นดังนั้นก็ให้ฉงนในพระ ราชหฤทัยไม่ใช่น้อย จึงโปรดฯให้มหาดเล็กเวรเชิญพระราชกระแสไป
สอบถาม เพื่อให้แน่แก่พระทัยที่บ้านจมื่นฤทธิ์รณจักร มหาดเล็กก็กลับมาถวายบังคมทูลพระกรุณาว่า
"จมื่นฤทธิ์รณจักรถึง แก่กรรมแล้วเมื่อเช้านี้และในตอนเย็นก็ได้รับพระราชทาน น้ำหลวงอาบศพ
ทางครอบครัวได้แต่งตัวศพด้วยเครื่องเต็มยศทั้งชุดของทหารรักษาวัง"
เมื่อความได้ทราบใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทเช่นนั้น พระองค์ทรงเสียพระราชหฤทัยและเสียดายจมื่นฤทธิ์รณจักร
เป็นอย่างมาก ถึงกับออกพระโอษฐ์ว่า
"จมื่นฤทธิ์รณจักร แกรักฉัน อุตส่าห์นำวิญญาณในเครื่องแบบเต็มยศมาลาฉัน"
"จมื่นฤทธิ์รณจักร" ผู้นี้ เป็นนายทหารที่มีตำแหน่งเป็นถึงผู้บังคับกองพันทหารรักษาวัง และราชองครักษ์
เป็นนายทหารที่ล้นเกล้าฯรัชกาลที่ 6 ไว้วางพระราชหฤทัย ทรงโปรดปรานสนิทสนมด้วยเป็นอย่างมาก
ดังนั้นในงานศพของนายทหารท่านนี้ พระองค์จึงโปรดเกล้าฯพระราชทาน พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อเป็น
ค่าจัดงานศพตลอดงานนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณแก่ ครอบครัวจมื่นฤทธิ์รณจักรสุดคณานับ
เป็นระเบียบของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ตลอดจนข้าราชสำนักจะต้องมีญาติ
พี่น้องทำหนังสือกราบบังคมทูลในนามผู้ตาย ถวายบังคมลาตาย ส่งไปที่กระทรวงวัง พร้อมดอกไม้ธูปเทียน
ใส่พานไปด้วยเจ้าหน้าที่กระทรวงวัง จะได้นำพานและหนังสือ ทูลเกล้าฯถวาย เพื่อทราบใต้ฝ่าละอองฯ หลังจากนั้น
สำนักพระราชวัง ก็จะจัดน้ำหลวงอาบศพ และเครื่องประกอบเกียรติยศส่งไปให้ผู้ถึงแก่กรรม
หนังสือลาตาย ที่ทรงเปิดทอดพระเนตร เป็น หนังสือลาตาย
ของ นายพันโทจมื่นฤทธิ์รณจักร นั่นเอง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ก็ทรงระลึกได้ทันทีว่าบ่ายนี้ที่จมื่นฤทธิ์ฯ มาเฝ้าในเครื่องแต่งกายเต็มยศ
ใหญ่ ก็คงเป็นเพราะประสงค์ จะมาถวายบังคมลาตายด้วยตัวเอง นั่นเอง
เรื่องนี้ทรงเล่าให้ข้าราชสำนักฟังรวมทั้งพระยาบำรุงราชบริพารซึ่งนำเรื่องมาบันทึกลงไว้ในหนังสือในภายหลัง
เป็นเรื่องที่เชื่อถือได้ เพราะผู้เล่าคือ จมื่นมานิตย์นเรศร์ มหาดเล็กคนสนิทในล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 6 ซึ่งได้เล่า
ไว้ในรายการรอบเมืองไทยทางวิทยุ ท.ท.ท. ออกอากาศเมื่อหลายสิบปีก่อน
กราบถวายบังคมลาตาย : การที่ทายาทหรือญาติของผู้ตายซึ่งขอพระราชทานนํ้า อาบศพนำธูปเทียนแพ
กระทงกรวยดอกไม้ และหนังสือกราบถวาย บังคมลาตายไปกราบถวายบังคมลา
ที่สํานักพระราชวัง เป็นการ กราบทูลข่าวการตายของผู้นั้นให้ทรงทราบ
เจตนาจะบอกท่านๆ ที่เคารพว่า
คนที่เขียนแปลง คำกลอน "ขอกัดกันจนตายไม่ขายพังพอน" (หลบๆหน่อยนิ) ของคุณจักรภพนี้
ท่านมีความรู้ เรื่องธรรมเนียมประเพณีชาววังเทวดาชั้นฟ้า ดีทีเดียว นำมาผูก
โครงเรื่องการถึงอสัญกรรมท่านสมัครได้อย่างเหมาะเจาะลงตัว สอดคล้องสถานการณ์ รวมถึงมีภาพ
ถ่ายลายมือคำกลอน แนบอ้างอิงมาด้วย ...ฝีมือไม่ธรรมดานักพรอพ (กานดา) รายนี้
จำได้ว่านานมากแล้ว ผมได้เคยอ่านในบทความหรือ หนังสือสักอย่างของ มรว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
อันนี้เชื่อได้เพราะพวกเจ้าเขียนเอง อธิบายเอาไว้ เกี่ยวกับเรื่อง การขออนุญาติลาตาย ของอำมาตย์
และ ข้าราชบริพาร สมัยกรุงเก่า ... แนวแนวเดียวกัน
รู้สึกจะมีคนเคยเขียนล้อว่า ขี้ข้าพวกนี้ ถ้าก่อนตายนี่ ไม่มีแรงคลาน หรือ ลูกหลานไม่หามมาเข้าเฝ้า ลาตาย
คงตายไม่ได้ ห้ามตายห่า นิ ...กูยังไม่อนุญาต ยัง ยังอีก ...บังอาจขัดขืนคำสั่งโทษตายสถานเดียว ...งง ดีไหมครับ
ขนาดไม่มีทุนอุดหนุนจัดตั้ง วอร์รูมข่าวเป็นเรื่องเป็นราว แบบฝ่ายอำมาตย์ทรราช ที่มีงบเป็นร้อยล้านพันล้าน
หากถ้า ผู้นำของฝ่ายเสื้อแดงพลิกตัวเห็นความสำคัญในด้านกระบวนการข่าว และจัดทุนจัดทีม อย่างเป็นระบบ
ประสิทธิภาพการทำลายล้างจะสูงขนาดใด จินตนาการเอาเองนะครับ นักสู้ประชาธิปไตยแดงเสรีชน ทั้งหลาย
ขอบคุณทุกท่านเช่นกันมา ณ.โอกาสนี้ครับ
Real Gr' ประชาไท
ข้อมูลประกอบครับ โปรดใช้วิจารณญาน ..... (ไม่ยืนยัน)
ข้อมูลประกอบครับ โปรดใช้วิจารณญาน ..... (ไม่ยืนยัน)
.................
เสมือนสวมพระเครื่องอันเรืองเวทย์
ประนมเดชมอบดวงใจให้ทุกสิ่ง
แต่องค์พระ กลับเข้าช่วงชิง
จนได้รู้ความ จริงอันเจ็บใจ
สิ่งที่สูงกลับต่ำนั้นดำเนตร
ใจสมัครสุนทรเวชจึงหมองใหม้
เฝ้าจงรักภักดีมิรู้คลาย
ขอกัดฟันลาตาย? ไม่ถวาย .......
ประนมเดชมอบดวงใจให้ทุกสิ่ง
แต่องค์พระ กลับเข้าช่วงชิง
จนได้รู้ความ จริงอันเจ็บใจ
สิ่งที่สูงกลับต่ำนั้นดำเนตร
ใจสมัครสุนทรเวชจึงหมองใหม้
เฝ้าจงรักภักดีมิรู้คลาย
ขอกัดฟันลาตาย? ไม่ถวาย .......
นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ของประเทศไทย (ผู้ประพันธ์)
มอบให้ในอุ้งมือคุณหญิงภรรยาของท่านไว้ก่อนสิ้นใจไม่นาน
ถ้านี่เป็นกลอนของ สมัคร สุนทรเวช จริงก็จะเป็นเรื่องที่สำคัญมากทั้งในแง่ประวัติชีวิตของสมัคร และ
การเมืองในมุมกว้างออกไป (ความเปลี่ยนแปลงของรอยัลยิสต์คน สำคัญ) แต่
ผมเกรงว่า นี่จะไม่ใชกลอนของสมัคร สุนทรเวช
มอบให้ในอุ้งมือคุณหญิงภรรยาของท่านไว้ก่อนสิ้นใจไม่นาน
ถ้านี่เป็นกลอนของ สมัคร สุนทรเวช จริงก็จะเป็นเรื่องที่สำคัญมากทั้งในแง่ประวัติชีวิตของสมัคร และ
การเมืองในมุมกว้างออกไป (ความเปลี่ยนแปลงของรอยัลยิสต์คน สำคัญ) แต่
ผมเกรงว่า นี่จะไม่ใชกลอนของสมัคร สุนทรเวช
(ก่อนอื่นขอให้สังเกตว่า บรรทัดที่ 3 น่าจะคัดลอกมาผิด เพราะไม่ครบ 8 หรือ 9 พยางค์ ตามสไลต์ชอง
กลอนบรรทัดอื่น (ถ้าเป็นนักแต่งกลอนสมัยใหม่ กลอนแปดอาจจะมีเพียง 6-7 พยางค์ ในบางบรรทัดได้
แต่นี่ ไม่เข้ากับกลอนส่วนอื่นๆ) - ดูเรื่องนี้ข้างล่าง) และเมื่ออ่านเนื้อหาแล้ว ผมก็ไม่คิดว่า น่าจะใช่ของ
สมัคร พูดง่ายๆแบบภาษาทีใช้กันแถวนี้คือ ผมไม่คิดว่าสมัคร จะมีอาการ"ตาสว่าง"ก่อนตาย ถึงเพียงนี้
เท่าที่ผมค้นดู ผมพบว่า อันที่จริง กลอนนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ กลอน ของ จักรภพ เพ็ญแข ที่แต่งไว้อาลัย
สมัคร ดูตัวอย่างกลอนเต็มๆ ที่เว็บนี้ (ซึ่งคัดเอามาจาก Thai e-news อีกต่อหนึ่ง)
กลอนบรรทัดอื่น (ถ้าเป็นนักแต่งกลอนสมัยใหม่ กลอนแปดอาจจะมีเพียง 6-7 พยางค์ ในบางบรรทัดได้
แต่นี่ ไม่เข้ากับกลอนส่วนอื่นๆ) - ดูเรื่องนี้ข้างล่าง) และเมื่ออ่านเนื้อหาแล้ว ผมก็ไม่คิดว่า น่าจะใช่ของ
สมัคร พูดง่ายๆแบบภาษาทีใช้กันแถวนี้คือ ผมไม่คิดว่าสมัคร จะมีอาการ"ตาสว่าง"ก่อนตาย ถึงเพียงนี้
เท่าที่ผมค้นดู ผมพบว่า อันที่จริง กลอนนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ กลอน ของ จักรภพ เพ็ญแข ที่แต่งไว้อาลัย
สมัคร ดูตัวอย่างกลอนเต็มๆ ที่เว็บนี้ (ซึ่งคัดเอามาจาก Thai e-news อีกต่อหนึ่ง)
หรือที่นี่ (ต้องใช้ proxy) http://konthaiuk.com...pic=6045.0;wap2
กลอนเต็มๆของจักรภพ นั้นตีพิมพ์ครั้งแรก
ที่ คอลัมน์ร้อยรักอักษราเป็นอาวุธ นสพ.ไทยเรดนิวส์ ฉบับที่27(ศ.28พย.-พฤ.3ธค.52)
ขอให้สังเกตด้วยว่าในกลอนจักรภพ ฉบับเต็มๆ บรรทัดที่ผมคาดว่า คัดลอกมาผิดนั้นคัดลอกมาผิดจริงๆ
ของจริงต้องเป็น "แต่องค์พระกลับล้วงเข้าช่วงชิง" (ครบ 8 พยางค์)
แต่ปรากฏว่า ดูเหมือนจะมีการตัดเอาเฉพาะท่อนที่ยกมาในกระทู้นี้ไปเผยแพร่ต่อในลักษณะเหมือนกระทุ้นี้
คือมีการเขียนเพิ่มเติมว่า สมัคร แต่งแล้ว
"มอบให้ในอุ้งมือคุณหญิงภรรยาของท่านไว้ก่อนสิ้นใจไม่นาน"
ผมพบที่นี่ เป็นต้น (ใช้ proxy) http://groups.google...01429ac1aabff78
หรือไปอ้างกันต่อ ที่นี่ http://groups.google...c0620f676a31eec
(ขอให้ส้งเกตว่า วรรค "แต่องค์พระ กลับเข้าช่วงชิง" คัดลอกมาตกหล่น เหมือนที่กระทู้คัดลอกมา
และไม่เหมือน กลอนฉบับเต็มของจักรภพ)
อาจจะเป็นไปได้ว่าสมัครแต่งจริง และ "มอบให้ในอุ้งมือคุณหญิงภรรยา" จริงแล้ว จักรภพ ทราบเข้า
จึงนำไปรวมอยู่ในกลอนที่ตัวเองแต่ไว้อาลัยสมัคร (เป็นเทคนิคทีนักกลอนบางคร้งใช้คือ quote บางส่วน
ของกลอนคนอื่น เข้าไว้ในกลอนตัวเอง เช่น ถ้าผมจะแต่งกลอนถึง จิตร ผมอาจจะใส่
"เพื่อลบรอยคราบน้ำตาประชาราษฎร์..."
ที่จิตรแต่งเข้าไว้ด้วยก็ได้แต่โดยทั่วไป เทคนิคนี้ ถ้าใช้ มักจะมี "..."(เครืองหมาย quote ชัดเจน)แต่กลอน
จักรภพ ตามที่เผยแพร่ทาง Thai e-news ไม่เห็นมี)
แต่โดยส่วนตัว ผมยังไม่คิดว่าน่าจะเป็นไปได้(ทีว่าสมัครแต่ง แล้วจักรภพไปได้มา เลยมารวมไว้ในกลอน
ตัวเอง) ถ้าใครมีข้อมูลยืนยันได้กรุณาบอก จะขอบพระคุณอย่างสูง เพราะดังที่กล่าวว่า เรื่องนี้สำคัญในแง่
ประวัติชีวิตสมัคร และในแง่ การเมืองของรอยัลลิสต์
จักรภพ ตามที่เผยแพร่ทาง Thai e-news ไม่เห็นมี)
แต่โดยส่วนตัว ผมยังไม่คิดว่าน่าจะเป็นไปได้(ทีว่าสมัครแต่ง แล้วจักรภพไปได้มา เลยมารวมไว้ในกลอน
ตัวเอง) ถ้าใครมีข้อมูลยืนยันได้กรุณาบอก จะขอบพระคุณอย่างสูง เพราะดังที่กล่าวว่า เรื่องนี้สำคัญในแง่
ประวัติชีวิตสมัคร และในแง่ การเมืองของรอยัลลิสต์
บทสนทนา
somsuk akkarathikarn ถามในสมุดเยี่ยม http://rungsira-news.spaces.live.com
ขอความเห็นเกี่ยวกับบทกลอนคุณสมัคร..ส่วนตัวผมเห็นว่าบทกลอนนี้ไม่น่ามาจากคุณ สมัครเขียนแล้วยัด
ใส่มือคุณหญิงก่อนตาย แล้วคุณหญิงนำมาเผยแพร่ยิ่งไม่น่าเป็นไปได้ บทกลอนนี้เผยออกมา โดยอ้างว่า
สมัครเขียนคนที่เผยหรือเขียน แล้วอ้างว่าสมัครเขียนน่าจะรู้ว่าไม่เป็นผลดีกับสมัครแน่ แล้วสมัครก็ตายไป
แล้ว ไม่น่าทำท่านได้ .... ส่วนตัวก็ไม่ได้ชื่นชมอะไรกันท่านนักหรอก แต่คิดตามที่เห็น!!!
rungsira รุ่งศิลา ตอบ
การที่ คุณหญิง สุรัตน์ สุนทรเวช ท่านมิได้ออกมาปฏิเสธอันใดในการนี้
ก็เป็นเหตุให้ เชื่อได้ว่าน่าจะมีมูล หรือคุณๆว่าอย่างไรครับ ผู้เสียหายโดยตรงที่ว่ากันว่าถูกกล่าวอ้าง
ท่านยังเฉยๆ มิได้เดือดเนื้อร้อนใจแก้ต่าง คนอื่นจะไปสงสัยหาความกระไรได้ ...ตรรกะผมง่ายๆไม่ซับซ้อน
somsuk akkarathikarn ถามในสมุดเยี่ยม http://rungsira-news.spaces.live.com
เหตุที่คุณหญิงไม่ได้ออกมาปฏิเสธนั้น หรือการนิ่งเฉยนั้นจะเป็นตรรกะในเชิงยอมรับนั้นก็หาได้ไม่ เพราะการ
อันนี้เผยในที่ๆหาได้เป็นที่สาธารนะชนอันควรไม่ การนิ่งเสียน่าจะเป็นผลดีมากกว่า แต่ก็ช่างมันเถิด เพียงแต่
ต้องการความคิดเห็นจากคุณ ไม่ได้ขัดแย้งเพื่อการอันใด
rungsira รุ่งศิลา ตอบ
ใส่มือคุณหญิงก่อนตาย แล้วคุณหญิงนำมาเผยแพร่ยิ่งไม่น่าเป็นไปได้ บทกลอนนี้เผยออกมา โดยอ้างว่า
สมัครเขียนคนที่เผยหรือเขียน แล้วอ้างว่าสมัครเขียนน่าจะรู้ว่าไม่เป็นผลดีกับสมัครแน่ แล้วสมัครก็ตายไป
แล้ว ไม่น่าทำท่านได้ .... ส่วนตัวก็ไม่ได้ชื่นชมอะไรกันท่านนักหรอก แต่คิดตามที่เห็น!!!
rungsira รุ่งศิลา ตอบ
การที่ คุณหญิง สุรัตน์ สุนทรเวช ท่านมิได้ออกมาปฏิเสธอันใดในการนี้
ก็เป็นเหตุให้ เชื่อได้ว่าน่าจะมีมูล หรือคุณๆว่าอย่างไรครับ ผู้เสียหายโดยตรงที่ว่ากันว่าถูกกล่าวอ้าง
ท่านยังเฉยๆ มิได้เดือดเนื้อร้อนใจแก้ต่าง คนอื่นจะไปสงสัยหาความกระไรได้ ...ตรรกะผมง่ายๆไม่ซับซ้อน
somsuk akkarathikarn ถามในสมุดเยี่ยม http://rungsira-news.spaces.live.com
เหตุที่คุณหญิงไม่ได้ออกมาปฏิเสธนั้น หรือการนิ่งเฉยนั้นจะเป็นตรรกะในเชิงยอมรับนั้นก็หาได้ไม่ เพราะการ
อันนี้เผยในที่ๆหาได้เป็นที่สาธารนะชนอันควรไม่ การนิ่งเสียน่าจะเป็นผลดีมากกว่า แต่ก็ช่างมันเถิด เพียงแต่
ต้องการความคิดเห็นจากคุณ ไม่ได้ขัดแย้งเพื่อการอันใด
rungsira รุ่งศิลา ตอบ
พินัยกรรม “ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์” http://webboard.mthai.com/5/2007...
ข้อ2) "ไม่ขอรับเกียรติยศใดๆ ทั้งสิ้น" เทียบกับของท่านสมัคร "ขอกัดฟันลาตาย ไม่........"
การนิ่งคือการยอมรับครับ ในสังคมไทย และกม.ไทย ใชัระบบกล่าวหา เท็จจริงหรือไม่นั้นถ้ามีการกล่าวโทษ
คงเหนื่อยน่าดู แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ผมเห็นว่า feeling ของครอบครัวทั้งสองท่าน ไม่แตกต่างกันนักจากตัวอักษรที่
นำออกเผยแพร่กันทั่วไป ส่วนจะเป็นอารมณ์โกรธ แค้น เกลียด ชิงชัง น้อยใจ จำยอม ก็สุดแท้แต่.. ผมไม่ขอ
ก้าวล่วงวิจารณ์ครับ
ข้อ2) "ไม่ขอรับเกียรติยศใดๆ ทั้งสิ้น" เทียบกับของท่านสมัคร "ขอกัดฟันลาตาย ไม่........"
การนิ่งคือการยอมรับครับ ในสังคมไทย และกม.ไทย ใชัระบบกล่าวหา เท็จจริงหรือไม่นั้นถ้ามีการกล่าวโทษ
คงเหนื่อยน่าดู แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ผมเห็นว่า feeling ของครอบครัวทั้งสองท่าน ไม่แตกต่างกันนักจากตัวอักษรที่
นำออกเผยแพร่กันทั่วไป ส่วนจะเป็นอารมณ์โกรธ แค้น เกลียด ชิงชัง น้อยใจ จำยอม ก็สุดแท้แต่.. ผมไม่ขอ
ก้าวล่วงวิจารณ์ครับ
ท่านที่สงสัย ลองพิจารณาเอานะครับว่า พณ ท่านสมัคร สุนทรเวช เขียนเอง
หรือ คุณจักรภพ เพ็ญแข เขียนแปลงสาร
หรือ คุณจักรภพ เพ็ญแข เขียนแปลงสาร
หรือผู้ใดผู้หนึ่ง แปลงมาจากบทกลอนของ คุณ จักรภพ เพ็ญแข
กลอนแปดหรือกลอนสุภาพจำนวน ๑๔ บทนี้
ผม-นายจักรภพ เพ็ญแข เป็นผู้เขียนขึ้นเอง
ผม-นายจักรภพ เพ็ญแข เป็นผู้เขียนขึ้นเอง
Posted by นักข่าวชาวรากหญ้า
กลอนนี้ผม-นายจักรภพ เพ็ญแข เป็นผู้เขียนขึ้นเองใครก็ตามที่นำงานเขียนชิ้นนี้ไปปรับเปลี่ยนแก้ไข
เขาคนนั้นคงต้องการให้ผู้อ่านเข้าใจว่า อดีตนายกรัฐมนตรีผู้แสดงความมั่นคงทางความคิดต่อระบอบ
ราชาธิปไตยของไทยมาตลอดชีวิต ได้เกิดความแตกหักทางความคิดในบั้นปลาย และได้ระบายความ
รู้สึกนั้นผ่านกลอนชิ้นนี้..ในแง่เจตนาแล้วถือว่าดี
เขาคนนั้นคงต้องการให้ผู้อ่านเข้าใจว่า อดีตนายกรัฐมนตรีผู้แสดงความมั่นคงทางความคิดต่อระบอบ
ราชาธิปไตยของไทยมาตลอดชีวิต ได้เกิดความแตกหักทางความคิดในบั้นปลาย และได้ระบายความ
รู้สึกนั้นผ่านกลอนชิ้นนี้..ในแง่เจตนาแล้วถือว่าดี
แต่ในเชิงกลอนแล้ว ต้องย้อนกลับไปฝึกพื้นฐานกันใหม่เล็กน้อย
ถึงท่านอดีตนายกรัฐมนตรีจะไม่ได้แต่งกลอนชิ้นนี้ แต่ผมขอประกันด้วยเกียรติของนักประชาธิปไตย
คนหนึ่งว่า ความรู้สึกในใจของท่านในบั้นปลายคงไม่ต่างไปจากคำพรรณนาในกลอนชิ้นนี้นัก
โดย จักรภพ เพ็ญแข
ครั้งแรกที่ผมเห็นกลอนที่มีผู้อ้างว่าเขียนโดย ท่านนายกรัฐมนตรีสมัคร สุนทรเวช ผู้ล่วงลับ และ
มีเรื่องเล่าแถมด้วยว่าท่านได้แต่งไว้ก่อนถึงแก่อสัญกรรมไม่นาน เขียนแล้วก็ใส่มือคุณหญิงสุรัตน์ฯ
ผู้เป็นภรรยาเสมือนจะฝากไว้ในแผ่นดิน ผมรู้สึกอยู่ในใจว่าช่างผูกเรื่องกันเก่งจริง
ช่วยให้บรรยากาศทางการเมืองเข้มข้นครึกครื้นยิ่ง ผมจึงเก็บข้อเท็จจริงในเรื่องนี้ไว้ในใจ ไม่อยาก
ออกมาอธิบายว่าแท้ที่จริงกลอนแปดชิ้นนี้มีที่มาอย่างไร และสั่งทีมงานทุกคนที่รู้เห็นให้เก็บเงียบไว้
ด้วย การเปลี่ยนครรลองการเมืองในภาพใหญ่ของไทยตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๔๙ เป็นต้นมาเป็นเป้าหมาย
ที่ผมต้องการมากกว่าสิ่งใดๆแม้แต่เรื่องที่เคยสำคัญต่อผมมากสมัยที่เป็นสื่อมวลชนและนักวิชาการ
อย่างเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา เหมือน “กรณีกลอนสมัคร” นี้
แต่แล้วเรื่องนี้ก็ไม่จบ มีผู้เข้ามาร่วมถกเถียงและอ้างเป็นผู้รู้กันมากมาย ซึ่งผมได้อ่านและวางเฉยอยู่
ต่อมาความเห็นเริ่มแปลกประหลาดในทำนองว่าผมเป็นผู้ไปนำกลอนของท่านมาปรับปรุงแต่งเติมให้
เป็นกลอนของตนเองและนำออกมาเผยแพร่ จะเพราะอยากเด่นดัง หรือมีอุปนิสัยฉวยโอกาสอย่างไร
ผู้แสดงความเห็นท่านก็ไม่ได้พูดหรือเขียนออกมาตรงๆ แต่ผมก็เริ่มรู้สึกว่า เรื่องนี้ชักจะไปไกลกันเกิน
ไปหน่อยแล้วยิ่งภายหลังผู้นำทางความคิดอย่าง ดร.สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล ออกมาถามหาข้อเท็จจริง
ด้วย
เรื่องธรรมดานี้ก็ชักจะเป็นเรื่องสำคัญขึ้นมา ผมจึงคิดว่าต้องออกมาชี้แจงเล็กน้อย เพื่อความซื่อสัตย์
ในทางประวัติศาสตร์ ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของปัจเจกชนคนใด
กลอนแปดหรือกลอนสุภาพจำนวน ๑๔ บทนี้ ผม-นายจักรภพ เพ็ญแข เป็นผู้เขียนขึ้นเอง โดยได้แรง
บันดาลใจที่เกิดขึ้นทันทีที่รู้ข่าวว่า ท่านอดีตนายกรัฐมนตรีถึงแก่อสัญกรรม ในขณะนั้น ผมมีพื้นที่ที่ตี
พิมพ์งานร้อยกรองอยู่หนึ่งคอลัมน์ในนิตยสารการเมือง “ ไทยเรดนิวส์ ” ภายใต้การบริหารของ ผู้อำ
นวยการและบรรณาธิการ ดร.วิบูลย์ แช่มชื่น คอลัมน์นี้ชื่อ “ร้อยรักอักษราเป็นอาวุธ” และผมได้ใช้ชื่อ
จริงในการเขียนตั้งแต่กลอนชิ้นแรก จนถึงวันที่นิตยสารนี้ถูกข่มขู่คุกคามจากฝ่ายรัฐจนต้องปิดตัวลง
ผมยังจำความรู้สึกในขณะที่เขียนกลอนชิ้นนี้ได้ดี ผมรู้สึกเศร้าสะเทือนใจแทนท่านนายกสมัคร จนน้ำ
ตาไหล ผมรู้สึกเสียใจที่ผู้คนส่วนหนึ่งในบ้านเมืองไม่เข้าใจบทบาทในบั้นปลายของท่าน ผมเห็นใจสิ่ง
ที่ท่านยึดถือเป็นสรณะในชีวิตแต่สุดท้ายกลายเป็นมายาให้ท่านได้เห็นต่อหน้า
ในฐานะที่ร่วมอยู่ในคณะรัฐมนตรี โดยเป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี คนหนึ่งของท่าน ผมมี
โอกาสได้เห็นหัวใจดวงใหญ่ของผู้ใหญ่คนหนึ่งที่ผมติดตามบทบาททางการเมืองมาตั้งแต่เป็นนักเรียน
นุ่งกางเกงขาสั้น ผมรู้ว่าท่านมิใช่คนที่เพียบพร้อมสมบูรณ์แบบ แต่ผมก็รู้ว่าท่านมีความดีงามมากพอที่
เราจะกราบไหว้รำลึกถึง โดยเฉพาะจุดยืนในขณะที่บ้านเมืองเข้าสู่ “การเมืองปลายรัชกาล”
การตัดสินใจทางการเมืองของท่านหลายครั้งสะท้อนว่า ท่านเอาบ้านเมืองไว้ก่อนอย่างอื่น และ เอา
เกียรติคุณส่วนตัวไว้ในระดับต่ำสุด หรือไม่เอามาคิดเลยด้วยซ้ำ
กลอนทั้ง ๑๔ บทนี้ไหลออกมาอย่างต่อเนื่องเป็นธรรมชาติ และน้ำตาผมก็ไหลในขณะที่เขียน ผมรู้ว่า
ผมคือผู้ลี้ภัยทางการเมือง คงจะไม่อาจไปร่วมเคารพศพท่านด้วยตัวเอง ความรู้สึกอาลัยรักจึงท่วมท้น
หัวใจเป็นทวีคูณ
ผู้เป็นภรรยาเสมือนจะฝากไว้ในแผ่นดิน ผมรู้สึกอยู่ในใจว่าช่างผูกเรื่องกันเก่งจริง
ช่วยให้บรรยากาศทางการเมืองเข้มข้นครึกครื้นยิ่ง ผมจึงเก็บข้อเท็จจริงในเรื่องนี้ไว้ในใจ ไม่อยาก
ออกมาอธิบายว่าแท้ที่จริงกลอนแปดชิ้นนี้มีที่มาอย่างไร และสั่งทีมงานทุกคนที่รู้เห็นให้เก็บเงียบไว้
ด้วย การเปลี่ยนครรลองการเมืองในภาพใหญ่ของไทยตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๔๙ เป็นต้นมาเป็นเป้าหมาย
ที่ผมต้องการมากกว่าสิ่งใดๆแม้แต่เรื่องที่เคยสำคัญต่อผมมากสมัยที่เป็นสื่อมวลชนและนักวิชาการ
อย่างเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา เหมือน “กรณีกลอนสมัคร” นี้
แต่แล้วเรื่องนี้ก็ไม่จบ มีผู้เข้ามาร่วมถกเถียงและอ้างเป็นผู้รู้กันมากมาย ซึ่งผมได้อ่านและวางเฉยอยู่
ต่อมาความเห็นเริ่มแปลกประหลาดในทำนองว่าผมเป็นผู้ไปนำกลอนของท่านมาปรับปรุงแต่งเติมให้
เป็นกลอนของตนเองและนำออกมาเผยแพร่ จะเพราะอยากเด่นดัง หรือมีอุปนิสัยฉวยโอกาสอย่างไร
ผู้แสดงความเห็นท่านก็ไม่ได้พูดหรือเขียนออกมาตรงๆ แต่ผมก็เริ่มรู้สึกว่า เรื่องนี้ชักจะไปไกลกันเกิน
ไปหน่อยแล้วยิ่งภายหลังผู้นำทางความคิดอย่าง ดร.สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล ออกมาถามหาข้อเท็จจริง
ด้วย
เรื่องธรรมดานี้ก็ชักจะเป็นเรื่องสำคัญขึ้นมา ผมจึงคิดว่าต้องออกมาชี้แจงเล็กน้อย เพื่อความซื่อสัตย์
ในทางประวัติศาสตร์ ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของปัจเจกชนคนใด
กลอนแปดหรือกลอนสุภาพจำนวน ๑๔ บทนี้ ผม-นายจักรภพ เพ็ญแข เป็นผู้เขียนขึ้นเอง โดยได้แรง
บันดาลใจที่เกิดขึ้นทันทีที่รู้ข่าวว่า ท่านอดีตนายกรัฐมนตรีถึงแก่อสัญกรรม ในขณะนั้น ผมมีพื้นที่ที่ตี
พิมพ์งานร้อยกรองอยู่หนึ่งคอลัมน์ในนิตยสารการเมือง “ ไทยเรดนิวส์ ” ภายใต้การบริหารของ ผู้อำ
นวยการและบรรณาธิการ ดร.วิบูลย์ แช่มชื่น คอลัมน์นี้ชื่อ “ร้อยรักอักษราเป็นอาวุธ” และผมได้ใช้ชื่อ
จริงในการเขียนตั้งแต่กลอนชิ้นแรก จนถึงวันที่นิตยสารนี้ถูกข่มขู่คุกคามจากฝ่ายรัฐจนต้องปิดตัวลง
ผมยังจำความรู้สึกในขณะที่เขียนกลอนชิ้นนี้ได้ดี ผมรู้สึกเศร้าสะเทือนใจแทนท่านนายกสมัคร จนน้ำ
ตาไหล ผมรู้สึกเสียใจที่ผู้คนส่วนหนึ่งในบ้านเมืองไม่เข้าใจบทบาทในบั้นปลายของท่าน ผมเห็นใจสิ่ง
ที่ท่านยึดถือเป็นสรณะในชีวิตแต่สุดท้ายกลายเป็นมายาให้ท่านได้เห็นต่อหน้า
ในฐานะที่ร่วมอยู่ในคณะรัฐมนตรี โดยเป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี คนหนึ่งของท่าน ผมมี
โอกาสได้เห็นหัวใจดวงใหญ่ของผู้ใหญ่คนหนึ่งที่ผมติดตามบทบาททางการเมืองมาตั้งแต่เป็นนักเรียน
นุ่งกางเกงขาสั้น ผมรู้ว่าท่านมิใช่คนที่เพียบพร้อมสมบูรณ์แบบ แต่ผมก็รู้ว่าท่านมีความดีงามมากพอที่
เราจะกราบไหว้รำลึกถึง โดยเฉพาะจุดยืนในขณะที่บ้านเมืองเข้าสู่ “การเมืองปลายรัชกาล”
การตัดสินใจทางการเมืองของท่านหลายครั้งสะท้อนว่า ท่านเอาบ้านเมืองไว้ก่อนอย่างอื่น และ เอา
เกียรติคุณส่วนตัวไว้ในระดับต่ำสุด หรือไม่เอามาคิดเลยด้วยซ้ำ
กลอนทั้ง ๑๔ บทนี้ไหลออกมาอย่างต่อเนื่องเป็นธรรมชาติ และน้ำตาผมก็ไหลในขณะที่เขียน ผมรู้ว่า
ผมคือผู้ลี้ภัยทางการเมือง คงจะไม่อาจไปร่วมเคารพศพท่านด้วยตัวเอง ความรู้สึกอาลัยรักจึงท่วมท้น
หัวใจเป็นทวีคูณ
ผลที่ปรากฏขึ้นคือ: คอลัมน์ ร้อยรักอักษราเป็นอาวุธ เรื่อง สมัคร สุนทรเวช
โดย จักรภพ เพ็ญแข
ตอบสังคมสมศักดิ์รักความจริง ไม่แอบอิงมายาเป็นอาภรณ์
มากศัตรูมากมิตรชีวิตชัด รักษาชีพด้วยสัตย์เป็นอนุสรณ์
ผ่านถนนจนคุ้มทั้งลุ่มดอน ครบวงจรอย่างผู้ใหญ่หัวใจจริง
“สมัคร สุนทรเวช” ท่านจากลับ ย่อมมิใช่มืดดับทุกสรรพสิ่ง
ทุกร่องรอยตัวตนของคนจริง ทุกครั้งนิ่งเงียบสงบพบปัญญา
ผู้แผ้วถางทางเองไม่เกรงขาม ผู้ก้าวข้ามอุปสรรคที่ขวางหน้า
ผู้สร้างตัวไม่กลัวใครในนครา ผู้จับมือมวลประชาร่วมท้าทาย
และเป็นผู้ผิดหวังครั้งใหญ่ยิ่ง ผู้ที่ท่านยึดว่าจริงกลับห่างหาย
ผู้ใหญ่กลับสลับคู่เป็นผู้ร้าย หัวใจท่านจึงสลายเพราะใจจริง
เสมือนสวมพระเครื่องอันเรืองเวทย์ ประณตเกศมอบหัวใจให้ทุกสิ่ง
แต่องค์พระกลับล้วงเข้าช่วงชิง จนได้รู้ความจริงอันเจ็บใจ
สิ่งที่สูงกลับต่ำนั้นตำเนตร ใจ “สมัคร สุนทรเวช” จึงหม่นไหม้
นบนอบมาด้วยประชาธิปไตย ก็สั่งให้กองทัพมากลับทาง ......... บทที่มีการนำไปปรุงแปลง
ยุให้คนผิดกฎหมายท้าทายรัฐ ยุประชาธิปัตย์เข้าด้านข้าง
ยุให้ศาลเบือนบิดเข้าปิดทาง และใช้ “บ่าง” สื่อมวลชนคนบริกร
นี่ล่ะหรือเสาหลักอันศักดิ์สิทธิ์ ภาพนิมิตกลับกลอกเป็นหลอกหลอน
นึกว่าว่านสมุนไพรแท้ใบบอน นึกว่าจริงกลับละครย้อนดูตัว
แต่เกียรติยศแห่ง“สมัคร”จำหลักมั่น ประชาชนทั้งนั้นท่านรู้ทั่ว
ถึงร่างลับดับขันธ์อย่าหวั่นกลัว ความจริงจักปรากฏทั่วอย่ากลัวปลอม
พักเถิดครับ ท่านสมัคร โปรดพักผ่อน สิ่งที่ท่านสั่งสอนทั้งตรงอ้อม
จะนำมาปรับใช้จะไม่ยอม ประชาธิปไตยแมวย้อมจะไม่เอา
ประชาชนได้เป็นใหญ่ใน “สมัคร” เขาจึงรักแน่วแน่จนแก่เฒ่า
เผด็จการอำมาตย์ไทยเขาไม่เอา ท่านคือเบ้าหลอมร่างสร้างผู้นำ
กราบวิญญาณ“ท่านสมัคร”ผู้รักชาติ ผู้สร้างมาตรฐานไว้ไม่ตกต่ำ
หนุนประชาธิปไตยธงชัยนำ สวนระบอบใจดำผู้อำพราง
ชาว“ประชากรไทย”รวมใจหวัง มวล“พลังประชาชน”คนสืบสร้าง
จะสานต่อ“ท่านสมัคร”ผู้สร้างทาง สละร่างทิ้งหัวใจให้บ้านเมือง.
--------------------------
หลายเดือนต่อมา หลังจากที่ระบอบศักดินา-อำมาตยาธิปไตยไทย ได้ใช้เล่ห์กลจัดตั้งรัฐบาลที่นำ
โดย นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มาสวมแทนรัฐบาลของประชาชนแล้ว กลอนแปดชิ้นนี้ได้กลับมา
ปรากฏในโลกไซเบอร์อีกครั้งหนึ่ง แต่ในรูปลักษณ์ที่เปลี่ยนแปรไป นั่นคือถูกตัดทอนให้สั้นลง ถ้อย
คำถูกแก้ไขในบางส่วน และมีผู้เขียนคำอธิบายเพิ่มเติม ดังนี้:
โดย นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มาสวมแทนรัฐบาลของประชาชนแล้ว กลอนแปดชิ้นนี้ได้กลับมา
ปรากฏในโลกไซเบอร์อีกครั้งหนึ่ง แต่ในรูปลักษณ์ที่เปลี่ยนแปรไป นั่นคือถูกตัดทอนให้สั้นลง ถ้อย
คำถูกแก้ไขในบางส่วน และมีผู้เขียนคำอธิบายเพิ่มเติม ดังนี้:
“ สวมพระเครื่องอันเรื่องเวทย์
ประนมเดชมอบดวงใจให้ทุกสิ่ง
แต่องค์พระกลับเข้าช่วงชิง
จนได้รู้ความจริงอันเจ็บใจ
สิ่งที่สูงกลับต่ำนั้นตำเนตร
ใจสมัคร สุนทรเวชจึงหมองไหม้
เฝ้าจงรักภักดีมิรู้คลาย
ขอกัดฟันลาตาย ... ไม่ ...... "
ประนมเดชมอบดวงใจให้ทุกสิ่ง
แต่องค์พระกลับเข้าช่วงชิง
จนได้รู้ความจริงอันเจ็บใจ
สิ่งที่สูงกลับต่ำนั้นตำเนตร
ใจสมัคร สุนทรเวชจึงหมองไหม้
เฝ้าจงรักภักดีมิรู้คลาย
ขอกัดฟันลาตาย ... ไม่ ...... "
มอบให้ในอุ้งมือคุณหญิงภรรยาท่านไว้ก่อนสิ้นใจไม่นาน”
ผมเชื่อว่าเจตนาของใครก็ตาม ที่นำงานเขียนชิ้นนี้ไปปรับเปลี่ยนแก้ไขเป็นเรื่องของความตั้งใจดี
เขาคนนั้นคงต้องการให้ผู้อ่านเข้าใจว่า อดีตนายกรัฐมนตรีผู้แสดงความมั่นคง ทางความคิดต่อ
ระบอบราชาธิปไตยของไทยมาตลอดชีวิต ได้เกิดความแตกหักทางความคิดในบั้นปลาย และได้
ระบายความรู้สึกนั้นผ่านกลอนชิ้นนี้
การที่ผู้แก้ไขใส่วงเล็บเอาไว้ตอนท้ายด้วยว่า “นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๕ ของ
ประเทศไทย (ผู้ประพันธ์)” เป็นความต้องการที่จะย้ำหัวตะปูว่ากลอนชิ้นนี้ท่านอดีตนายกรัฐมนตรี
เป็นผู้เขียนจริงๆ เพราะเจ้าตัวคงรู้ดีว่ากลอนนี้แท้ที่จริงมาจากไหนและใครเป็นผู้แต่ง
สำนวนเขียนที่ว่า “...มอบให้ให้อุ้งมือคุณหญิงภรรยาท่านไว้ก่อนสิ้นใจไม่นาน...” ก็เป็นการเขียนที่
เร้าใจ มีลักษณะอย่างที่ชาวละครคงเรียกว่า drama
ในเชิงกลอนนั้น ก็ต้องถือว่าผู้แก้ไขได้พยายามทำให้เนียนที่สุดแล้ว หากศิลปะกลอนนั้น เป็นเรื่อง
ละเอียดอ่อนอยู่มาก หากจะสละเวลาเพื่อการวิจารณ์เชิงวรรณกรรมกันแล้ว ก็ต้องขอแสดงความเห็น
ไว้ตรงนี้ว่า:
เขาคนนั้นคงต้องการให้ผู้อ่านเข้าใจว่า อดีตนายกรัฐมนตรีผู้แสดงความมั่นคง ทางความคิดต่อ
ระบอบราชาธิปไตยของไทยมาตลอดชีวิต ได้เกิดความแตกหักทางความคิดในบั้นปลาย และได้
ระบายความรู้สึกนั้นผ่านกลอนชิ้นนี้
การที่ผู้แก้ไขใส่วงเล็บเอาไว้ตอนท้ายด้วยว่า “นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๕ ของ
ประเทศไทย (ผู้ประพันธ์)” เป็นความต้องการที่จะย้ำหัวตะปูว่ากลอนชิ้นนี้ท่านอดีตนายกรัฐมนตรี
เป็นผู้เขียนจริงๆ เพราะเจ้าตัวคงรู้ดีว่ากลอนนี้แท้ที่จริงมาจากไหนและใครเป็นผู้แต่ง
สำนวนเขียนที่ว่า “...มอบให้ให้อุ้งมือคุณหญิงภรรยาท่านไว้ก่อนสิ้นใจไม่นาน...” ก็เป็นการเขียนที่
เร้าใจ มีลักษณะอย่างที่ชาวละครคงเรียกว่า drama
ในเชิงกลอนนั้น ก็ต้องถือว่าผู้แก้ไขได้พยายามทำให้เนียนที่สุดแล้ว หากศิลปะกลอนนั้น เป็นเรื่อง
ละเอียดอ่อนอยู่มาก หากจะสละเวลาเพื่อการวิจารณ์เชิงวรรณกรรมกันแล้ว ก็ต้องขอแสดงความเห็น
ไว้ตรงนี้ว่า:
“... สิ่งที่สูงกลับต่ำนั้นตำเนตร
ใจสมัคร สุนทรเวชจึงหมองไหม้
เฝ้าจงรักภักดีมิรู้คลาย
ขอกัดฟันลาตาย......ไม่ ........ ”
ใจสมัคร สุนทรเวชจึงหมองไหม้
เฝ้าจงรักภักดีมิรู้คลาย
ขอกัดฟันลาตาย......ไม่ ........ ”
วรรคสองที่ลงท้ายว่า “...จึงหมองไหม้” นั้น ในทางกลอนแล้วจะต้องลงสัมผัสกับคำที่ใช้สระเสียงสั้น
เช่นเดียวกับสระไอในคำว่า “ไหม้” การข้ามไปใช้คำว่า “คลาย” ซึ่งเป็นคำที่ประกอบด้วยสระเสียงยาว
หรือ สระอา นั้นถือเป็นผิด หรืออย่างน้อยก็ทำให้ขาดความไพเราะ
ผู้แก้ไขคงจะอยากให้คำๆ นี้ไปรับกับวรรคที่ว่า “...ขอกัดฟันลาตาย...” ที่ตนหวังให้เป็นประโยคทอง
ชนิดที่คนปัจจุบันใช้คำว่า จบข่าวในแง่เจตนาแล้วถือว่าดี แต่ในเชิงกลอนแล้ว ต้องย้อนกลับไปฝึกพื้น
ฐานกันใหม่เล็กน้อย
ประโยคสุดท้ายที่อ้างนี้เองก็ขัดกับหลักการเขียนกลอน “ขอกัดฟันลาตาย...ไม่ถวาย.......”มีลักษณะ
ประดักประเดิดและเกินถ้อยคำของกลอน ๘ ไปอย่างน้อยหนึ่งพยางค์ เพราะประกอบด้วย ๑๐ พยางค์
ในขณะที่กลอน ๘ ที่ดีควรมีไม่เกิน ๙ พยางค์
หากจะปรับแต่งกันให้ได้ดั่งใจ ผมในฐานะที่เป็นต้นเค้าของกลอนชิ้นนี้ ขอเสนอใหม่ เฉพาะในบทนี้ว่า:
เช่นเดียวกับสระไอในคำว่า “ไหม้” การข้ามไปใช้คำว่า “คลาย” ซึ่งเป็นคำที่ประกอบด้วยสระเสียงยาว
หรือ สระอา นั้นถือเป็นผิด หรืออย่างน้อยก็ทำให้ขาดความไพเราะ
ผู้แก้ไขคงจะอยากให้คำๆ นี้ไปรับกับวรรคที่ว่า “...ขอกัดฟันลาตาย...” ที่ตนหวังให้เป็นประโยคทอง
ชนิดที่คนปัจจุบันใช้คำว่า จบข่าวในแง่เจตนาแล้วถือว่าดี แต่ในเชิงกลอนแล้ว ต้องย้อนกลับไปฝึกพื้น
ฐานกันใหม่เล็กน้อย
ประโยคสุดท้ายที่อ้างนี้เองก็ขัดกับหลักการเขียนกลอน “ขอกัดฟันลาตาย...ไม่ถวาย.......”มีลักษณะ
ประดักประเดิดและเกินถ้อยคำของกลอน ๘ ไปอย่างน้อยหนึ่งพยางค์ เพราะประกอบด้วย ๑๐ พยางค์
ในขณะที่กลอน ๘ ที่ดีควรมีไม่เกิน ๙ พยางค์
หากจะปรับแต่งกันให้ได้ดั่งใจ ผมในฐานะที่เป็นต้นเค้าของกลอนชิ้นนี้ ขอเสนอใหม่ เฉพาะในบทนี้ว่า:
“ สิ่งที่สูงกลับต่ำนั้นตำเนตร
ใจสมัคร สุนทรเวชจึงหม่นไหม้
เฝ้าจงรักภักดีพลีหัวใจ
แม้ชาติหน้าฟ้าใหม่... เลิกให้พร ”
ใจสมัคร สุนทรเวชจึงหม่นไหม้
เฝ้าจงรักภักดีพลีหัวใจ
แม้ชาติหน้าฟ้าใหม่... เลิกให้พร ”
ในฐานะที่เป็นผู้แต่งกลอน “สมัคร สุนทรเวช” เพื่อแสดงความรักอาลัยต่อท่านอดีตนายกรัฐมนตรี ที่ผม
ก้มกราบได้ทุกเมื่อ ผมขออธิบาย “กรณีกลอนสมัคร” ไว้เพียงเท่านี้
เรื่องนี้ล้วนเป็นเรื่องเจตนาดี ไม่ควรให้เป็นความขัดแย้ง ระหว่างพวกเราชาวประชาธิปไตยเป็นอัน
ขาด ผมขอมอบกลอนชิ้นนี้เป็นสมบัติสาธารณะ เพื่อการรณรงค์ต่อสู้ของพวกเราต่อไป ถึงท่าน อดีต
นายกรัฐมนตรีจะไม่ได้แต่งกลอนชิ้นนี้ แต่ผมขอประกันด้วยเกียรติของนักประชาธิปไตยคนหนึ่งว่า ความ
รู้สึกในใจของท่านในบั้นปลายคงไม่ต่างไปจากคำพรรณนาในกลอนชิ้นนี้นัก
ใครที่ยังสงสัย ยังมีบุคคลอีก ๒ คนให้ท่านไปหาทางถามได้ ท่านที่หนึ่ง คือ คุณหญิงสุรัตน์ สุนทรเวช
เพราะท่านถูกนำมาอ้างว่ารับกลอนชิ้นนี้ไว้ สามารถไปถามท่านได้ว่าได้รับกระดาษเขียนกลอนไว้จริงหรือ
ไม่ อีกท่านหนึ่งคือ ดร.วิบูลย์ แช่มชื่น อดีตสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นผู้อำนวยการ และบรร
ณาธิการบริหาร นิตยสารไทยเรดนิวส์ ผู้กรุณารับพิมพ์งานเขียนชิ้นนี้ไว้ตั้งแต่ต้น
นายกรัฐมนตรีจะไม่ได้แต่งกลอนชิ้นนี้ แต่ผมขอประกันด้วยเกียรติของนักประชาธิปไตยคนหนึ่งว่า ความ
รู้สึกในใจของท่านในบั้นปลายคงไม่ต่างไปจากคำพรรณนาในกลอนชิ้นนี้นัก
ใครที่ยังสงสัย ยังมีบุคคลอีก ๒ คนให้ท่านไปหาทางถามได้ ท่านที่หนึ่ง คือ คุณหญิงสุรัตน์ สุนทรเวช
เพราะท่านถูกนำมาอ้างว่ารับกลอนชิ้นนี้ไว้ สามารถไปถามท่านได้ว่าได้รับกระดาษเขียนกลอนไว้จริงหรือ
ไม่ อีกท่านหนึ่งคือ ดร.วิบูลย์ แช่มชื่น อดีตสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นผู้อำนวยการ และบรร
ณาธิการบริหาร นิตยสารไทยเรดนิวส์ ผู้กรุณารับพิมพ์งานเขียนชิ้นนี้ไว้ตั้งแต่ต้น
ขอให้ดวงวิญญาณของท่านอดีตนายกรัฐมนตรีได้สถิตในสุคติ และขอให้การกระทำในช่วงปลายชีวิต
ของท่าน ได้มีผลดลใจให้ขบวนประชาธิปไตยของเรา กลับมาตั้งสติได้เหมือนกับตัวท่าน จนเราเดินสู่หลัก
ชัย แห่งระบอบประชาชนได้โดยเร็วด้วยเทอญ.
ชัย แห่งระบอบประชาชนได้โดยเร็วด้วยเทอญ.
วันพฤหัสบดีที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๔
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น